ข้อมูลเล่าชีวิต: ตัวแทนคนเพิ่งไร้บ้าน
. . . โดย ว่าน ฉันทวิลาสวงศ์ . . . หากมองอีกหนึ่งกลุ่มป […]
. . . โดย ว่าน ฉันทวิลาสวงศ์ . . . หากมองอีกหนึ่งกลุ่มป […]
เคยสงสัยไหมว่า ทำไมเราถึงเห็นผู้หญิงไร้บ้านน้อยกว่าผู้ชาย?
เคยสงสัยไหมว่า ผู้หญิงที่ออกมาไร้บ้านมีลักษณะเป็นยังไง อยู่ที่ไหน และเผชิญกับอะไรบ้าง?
ชวนอ่าน และชวนคิด ผ่านบทความ “ข้อมูลเล่าชีวิต: ตัวแทนหญิงไร้บ้าน”
ยิ่งเมืองยิ่งไร้บ้าน?
“ความเป็นเมืองมักมาคู่กับความเหลื่อมล้ำ และคนไร้บ้านก็เป็นหนึ่งในปรากฏการณ์ที่เกิดในเมือง”
นี่คือสิ่งที่ข้อมูลบอกเรา
จากผลสำรวจแจงนับคนไร้บ้านพบว่า จำนวน 15 จาก 30 พื้นที่ที่มีคนไร้บ้านมากที่สุดในประเทศอยู่ในกรุงเทพมหานคร ส่วนพื้นที่ที่เหลือล้วนเป็นพื้นที่ในเขตเมืองของจังหวัดต่าง ๆ เช่น ขอนแก่น ชลบุรี นครราชสีมา เชียงใหม่ หาดใหญ่ อุดรธานี
ความสัมพันธ์ระหว่างความเป็นเมืองและจำนวนคนไร้บ้านนี้ ชี้ให้เห็นถึงอีกด้านของการพัฒนา ที่อาจไม่ได้นำมาซึ่งผลพลอยได้เชิงบวกเสมอไป
ชวนอ่าน “ยิ่งเมืองยิ่งไร้บ้าน: ความเป็นเมือง และการไร้บ้าน” โดย ว่าน ฉันทวิลาสวงศ์
จังหวัดที่มีคนไร้บ้านมากที่สุด 3 จังหวัดแรกล้วนเป็นจังหวัดที่เป็นเขตเศรษฐกิจสำคัญ
เคยสงสัยไหมว่าการเติบโตทางเศรษฐกิจของจังหวัดและจำนวนคนไร้บ้านมีความสัมพันธ์กันอย่างไร?
หาคำตอบได้ในบทความ ยิ่งรวยยิ่งไร้บ้าน: ยิ่งจังหวัดใดมีรายได้จังหวัดมาก ยิ่งจะมีคนไร้บ้านมากขึ้นด้วย
“มีคนไร้บ้านที่นอนอยู่ริมถนนจริงๆ ให้เราได้เห็น พวกเขาคือกลุ่มเปราะบางในสังคม ซึ่งเป็นเหยื่อของระบบที่ไม่เป็นธรรมอีกด้วย” นพ.อานนท์ กุลธรรมานุสรณ์ หรือ หมอไก่ ผู้ก่อตัังโครงการสุขภาวะข้างถนนเพื่อคนไร้บ้านกล่าวภายในงานเวทีเสวนาในงาน Good Society Day 2024 “Connect The Good Dots” เมื่อวันที่ 22 มี.ค. 67 จัดขึ้นโดยมูลนิธิเพื่อคนไทย
วิธีที่เรารับมือกับปัญหาที่ผ่านเข้ามาในชีวิต ไม่ได้ขึ้นอยู่กับศักยภาพความสามารถ หรือต้นทุนทางการเงินที่เรามีเท่านั้น แต่ทุนทางจิตใจก็มีผลเช่นกัน
‘หางานทำ’ เป็นวิธีหนึ่งที่ได้รับความนิยมในปัจจุบัน สำหรับช่วยเหลือคนไร้บ้าน เพราะเป็นการให้ความช่วยเหลือที่ยั่งยืน เขาสามารถดูแลตัวเองได้ต่อไปผ่านการมีรายได้จากงานที่ทำ
เมื่อ 2 ปีที่แล้ว ‘ลุงเปี๊ยก’ มีเรื่องเครียดและทุกข์มาก จนตัดสินใจเดินออกมาจากบ้านที่สุพรรณบุรี เพื่อมาใช้ชีวิตคนเดียวในกรุงเทพฯ 2 ปีต่อมา ความทุกข์เก่าที่ลุงเปี๊ยกเคยมีหายไป แต่ก็ทุกข์ใหม่เข้ามาแทนที่ นั่นคือ การเป็นคนไร้บ้าน
โรคติดเชื้อ อุบัติเหตุ และอาการเจ็บป่วยเรื้อรัง เป็นสาเหตุลำดับต้นๆ ที่ทำให้คนไร้บ้านเสียชีวิต
อายุขัยเฉลี่ยของคนไทยปี 2023 ผู้หญิงจะอยู่ที่ 81.05 ปี ส่วนของผู้ชาย 74.92 ปี ในขณะที่อายุเฉลี่ยที่เสียชีวิตของคนไร้บ้านต่ำกว่านั้น อยู่ที่ช่วงอายุ 50 – 65 ปี
‘One day with me’ คอนเทนต์ยอดฮิตที่ตามดูชีวิตประจำวันของเหล่าอินฟลูเอนเซอร์ ดารา หรือศิลปินที่ใครๆ ก็ชื่นชอบ กิจวัตรประจำวันของพวกเขามีได้หลายแบบ เช่น เล่นกีฬา ไปสปาหน้า หรือดินเนอร์ที่ร้านสุดหรู จนบางทีก็เกิดความสงสัยว่าทำไมคนเรามี 24 ชั่วโมงเท่ากัน แต่ชีวิตเราไม่เหมือนกัน?
เพราะเป็นคนมีอาการทางจิตจึงเป็นคนไร้บ้าน
นี่เป็นตัวอย่างของความเข้าใจผิดหนึ่งที่บางคนมีต่อ ‘คนไร้บ้าน’ มองว่าคนไร้บ้านคือคนที่มีปัญหาสุขภาพจิต จนอาจโดนครอบครัว หรือคนใกล้ชิดทิ้งให้ออกมาใช้ชีวิตอยู่ข้างนอก หรือคนไร้บ้านกับคนมีอาการทางจิตคือคนกลุ่มเดียวกัน ทั้งที่ในความจริงแล้ว มิติของการเป็นคนไร้บ้านมีความซับซ้อนกว่านั้นมาก
โกชีวอน (Goshiwon) เป็นคำเรียกที่พักอาศัยประเภทหนึ่งของเกาหลีใต้ ซึ่งมีขนาดประมาณ 3 – 6 ตารางเมตร ทำให้โกชีวอนส่วนใหญ่จะมีรูปแบบเป็นห้องสตูดิโอ บางที่อาจมีห้องน้ำในตัวด้วย