“ในที่สุดเขาก็รู้ว่าคนไร้บ้านไม่ใช่แค่ผีพเนจร” เสียงจากคนไร้บ้านที่เริ่มรู้สึกว่าสังคมไม่ได้เพิกเฉยต่อพวกเขาแล้ว
. คนไร้บ้านไม่ใช่ผีพเนจร ผีพเนจร ผีหัวลำโพง คนไม่มีหัวน […]
. คนไร้บ้านไม่ใช่ผีพเนจร ผีพเนจร ผีหัวลำโพง คนไม่มีหัวน […]
. “พ่อถามเราว่า จะกลับบ้านที่อุบลไหม เราบอกพ่อว่าไม่กลั […]
. . เคลียร์ของรกบ้าน เคลียร์สวนรกตา ตัดแต่งต้นไม้สบายใจ […]
นอกจากส่งเสริมคุณภาพชีวิตและสร้างโอกาสให้คนไร้บ้าน ความตั้งใจอีกอย่างหนึ่งของเรา คือการเปิดพื้นที่ให้คนไร้บ้านได้แสดงตัวตนว่า พวกเขาไม่ใช่คนขี้เกียจ คนมีปัญหาทางจิต หรือคนอันตราย อย่างที่ใครเขาพูดกัน
ชวนอ่านเรื่องราว ‘โครงการที่อยู่อาศัยคนละครึ่ง’ จุดเริ่มต้นแรกของการได้กลับมาใช้ชีวิตที่ยืนด้วยตัวเองของคนไร้บ้าน จุดหมายที่พวกเขาพยายามเดินทางไปให้ถึง
ถึงจะรักชอบแค่ไหนแต่เด็กหนุ่มคนหนึ่งยอมพับฝันการเป็นนักร้องไป ยอมเรียนในสิ่งที่ตัวเองไม่ชอบ เพียงเพราะสิ่งนั้นมันจะทำให้ชุมชนคลองเตย ที่ ‘แฮม’ เรียกว่า ‘บ้าน’ เปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น
Penguin Homeless ชวนอ่านบทสัมภาษณ์เกี่ยวกับมุมมองชีวิตในชุมชนแออัดและชีวิตการทำงานอันส่องแสง ของ ‘กระแต’ ส่องแสง สุปัญญา พี่เลี้ยงของเครือข่ายเยาวชนสลัมสี่ภาคที่เพิ่งได้พักจากงานอาสาสมัครตรวจโควิดเชิงรุกของชมรมแพทย์ชนบทที่ยิงยาวเหยียดมาทั้งวัน
ท่ามกลางวิกฤตการณ์โควิด-19 พบคนไร้บ้านหน้าใหม่เพิ่มขึ้นกว่า 30% ทั่วประเทศ
ชวนพูดคุยถึงสถานการณ์คนไร้บ้านในช่วงการแพร่บาดโควิด-19 รวมถึงแลกเปลี่ยนประสบการณ์การทำงานและความเห็นเพื่อหาแนวทางดูแลคนไร้บ้านในระยะยาวต่อไป ร่วมกับจากเครือข่ายหลายเมืองทั่วประเทศ
Penguin Homeless ชวนอ่านบทสัมภาษณ์ งานที่อยากตื่นขึ้นมาทำทุกวันของ ‘ผึ้ง’ สิรินดา สิงห์โตทอง อาสาสมัครมูลนิธิพัฒนาที่อยู่อาศัย
ผศ.ดร. พีระ ตั้งธรรมรักษ์ ผู้ขับเคลื่อนโครงการ ‘ศึกษาโอกาสในการเข้าสู่ภาวะไร้บ้านด้วยการวิจัยภาคสนาม’ เดินหน้าสร้างสรรค์ ‘แบบจำลองทางเศรษฐศาสตร์’ เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่ทำให้คน 1 คนเปลี่ยนสถานะไปสู่คนไร้บ้านอย่างเต็มตัว โดยคาดว่าจะเสร็จสมบูรณ์ในต้นปี 64 ทว่า ระหว่างเส้นทางเดินในงานวิจัยชิ้นนี้ มี ‘ของแถม’ คือ ‘ข้อสังเกต’ อันมีนัยยะสำคัญที่นำไปสู่แนวคิดที่ว่า การช่วยเหลือคนไร้บ้าน อาจไม่สามารถนำนโยบายเดียวไปใช้กับคนทุกกลุ่มได้
ความโปร่งใสและประสิทธิภาพของระบบประกันสุขภาพเริ่มต้นเมื่อผู้รับบริการรู้สิทธิ เข้าใจสิทธิ กลายมาเป็นผู้บริหารระบบหลักประกันและผู้ร่วมให้บริการ ผศ.ภญ.ดร.ยุพดี พบว่า การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน โดยเฉพาะภาคประชาสังคม ช่วยแก้ปัญหาและสร้างระบบที่มั่นคง ยั่งยืน และครอบคลุมชีวิตทุกชีวิตบนผืนแผ่นดินไทย
มีผู้คนมากมายที่อยู่อาศัยเติบโตในไทยตั้งแต่เกิด มีบรรพบุรุษอยู่บนผืนแผ่นดินไทยมาเป็นเวลานาน แต่เมื่อเขาไม่มีตัวเลขสิบสามหลักในบัตรประชาชน เขากลับไม่มีสิทธิจะยืนยันว่าตัวเองเป็นคนไทย / ที่มีความเป็นคนเท่ากับเรา / และควรได้รับการดูแลคุ้มครองเท่ากับคนที่อยู่ในสารบบประชาชนของรัฐ